ตำแหน่งตราสินค้ากับความตั้งใจซื้อ

หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิตการเป็นผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรม, บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ตำแหน่งตราสินค้ากับความตั้งใจซื้อ

ผศ.ดร. ปารเมศ วรเศยานนท์ 

บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตรกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 

ก่อนจะเข้าใจเรื่องการพัฒนาตราสินค้าอาจต้องมาเข้าใจ 'การทำงานของสมอง' ที่เกี่ยวข้องกับการรับรู้ตราสินค้าและการที่ตราสินค้าสามารถกระตุ้นให้เกิดความตั้งใจซื้อได้


การรับรู้ตราสินค้ามาจาก  4 ปัจจัยพื้นฐานได้แก่


ปัจจัยทั้ง 4 นี้เป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนา 'การรับรู้ตราสินค้า' ว่าคืออะไร ทำงานอย่างไร ทำอะไรได้บ้าง ให้คุณค่าอะไร แตกต่างจากสินค้าในตลาดอย่างไร หรือเมื่อเทียบกับสินค้าเทียบแล้วมีความน่าสนใจและแตกต่างจากตราอื่นอย่างไร โดยกระบวนการสร้างความเข้าใจและเปรียบเทียบนี้ สมองเราจะนำไปประมวลและสร้าง 'จุดยืนทางการตลาดเทียบสินค้า A และสินค้าคู่แข่ง'


ซึ่งเมื่อมีความเข้าใจ รับรู้ เปรียบเทีบ เชื่อในสิ่งที่เข้าใจก็จะนำมาซึ่งการ 'ทัศนคติ' ต่อตราสินค้า ก่อนที่จะจะเมิน 'การแสดงออกเชิงพฤติกรรม' (เช่น การตั้งใจซื้อและการไปซื้อ) สินค้าหรือบริการภายใต้ตราสินค้านั้น กระบวนการการทำงานของสมองต่อตำแหน่งตราสินค้าและการตั้งใจซื้อของลูจกค้าสามารถดูได้ในรูปประกอบ 1 (ตำแหน่งตราสินค้าและการตั้งใจซื้อ)     

รูปประกอบ 1 ตำแหน่งตราสินค้าและการตั้งใจซื้อ

ที่มา: วุฒิ สุขเจริญ (2563)


______________________________________________________________________________________


หลักสูตรการจัดการการเป็นผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรม (#EPM) เป็นหลักสูตรภายใต้การกำกับดูแลของบัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม (#GMI) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (#KMUTT)


หากมีข้อคิดเห็นหรือเสนอแนะใดๆ ทักมาคุยกัหรือแอดมาเป็นเพื่อนกันที่ https://www.facebook.com/kmuttentrepreneurship/ 


สามารถสอบถามเพิ่มเติมได้ที่ (02) 470-9795-6, 084-676-5885

LINE : @GMIKMUTT

หรือ ดูรายละเอียดเพิ่มเติม https://gmi.kmutt.ac.th/master_program

สนใจสมัครได้ที่ https://bit.ly/GMI_Apply 

#GMI #KMUTT #EPM

เรื่องที่น่าสนใจอื่น