การสนับสนุนการวิจัย

หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิตการเป็นผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรม, บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

เป้าหมายด้านการวิจัยของสาขานวัตรกรรมการเป็นผู้ประกอบการ

  • ให้นักศึกษาสามารถพัฒนาธุรกิจนวัตรกรรมโดยมีฐานการวิจัยรองรับ

  • สร้างให้เกิดการเข้าถึงเทคโนโลยีระหว่างผู้เรียนและนักวิจัยเชิงวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาความสามารถในการแข่งขันองค์กร การพัฒนาต้นแบบผลิตจภัณฑ์ที่ได้ถูกตรวจสอบด้านความต้องการของตลาดและธุรกิจ

  • สร้างเครือข่ายความรู้เชิงวิชาการกับนักวิชาการระดับนานาชาติผ่านการตีพิมพ์และการแลกเปลี่ยนความรู้

  • สร้างโอกาสด้านอาชีพ 'นักวิจัย' 'นักวิเคราะห์' 'นักพัฒนาคอนเทนท์' และ 'ผู้ประกอบการด้านการจัดการและวิเคราะห์ข้อมูล' ให้กับผู้เรียน

รายวิชาที่เกี่ยวข้อง

  • BUS XXX

  • BUS XXX

สมรรถนะและทักษะที่ได้รับจากกระบวนการเรียนรูปและดำเนินการด้านการวิจัย

สมรรถนะ

    • คือเป็นคนที่รู้จักวิเคราะห์วิจารณ์ด้วยเหตุด้วยผลตามสติปัญญาของตนเองได้ (Critical mind)

    • ความเพียร (Perseverance)

    • การใส่ใจรายละเอียด


ทักษะ

  • ความสามารถในการระบุและเข้าใจปัญหา

  • ความสามารถในการเขียน

  • ความสามารถในการสื่อสารและการนำเสนอ

  • การคิดวิเคราะห์โดยปราศจากอคติ

  • การประสานงาน และการจัดการความขัดแย้ง

  • การใช้เครื่องมือการวิจัย เช่น SPSS, PSPP, Atlas.ti, R Programing, STATA

  • การทำงานองค์กร (การจัดการโครงการ การจัดการเอกสาร (การจัดระเบียบ บันทึก การลำดับความสำคัญ สืบค้นเรียกใช้เอกสาร การวิเคราะห์ข้อมูล การวางแผน การมอบหมายงาน การบริหารเวลา)

  • การจัดการโครงการและการเป็นผู้นำ

ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการทำวิจัย

ความรู้พื้นฐานด้านการทำวิจัย วิธีวิจัย และสถิติ

เครื่องมือสนับสนุน (โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูล)

เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลวิจัย (คลิกที่นี่)

แบบฟอร์มที่เกี่ยวข้องกับการสอบประมวลความรู้

รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิ

รายชื่อผู้ทรงคุณวุฒิภายในและภายนอกที่ได้รับการอนุมัติสอบประมวลความรู้

ทุนที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและการตีพิมพ์

รูปแบบการวิจัย (Format) และการอ้างอิง

ฐานข้อมูลวิจัยนานาชาติและของรุ่นพี่ก่อนหน้า

การตีพิมพ์

พื้นที่ตีพิมพ์ ลำดับของวารสาร การนำเสนอผลงาน และแนวทางการช่วยเหลือด้านการตีพิมพ์