การปรับปรุงหลักสูตร
หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิตการเป็นผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรม, บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
วัตถุประสงค์การปรับปรุงหลักสูตร
หลักสูตรการจัดการมหาบัณฑิตการเป็นผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรม, บัณฑิตวิทยาลัยการจัดการและนวัตกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีได้มีการพัฒนาและดำเนินการจัดการเรียนการสอนมาเป็นระยะเวลากว่า 5 ปี เพื่อให้หลักสูตรเป็นปัจจุบันจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ทางผู้รับผิดชอบหลักสูตรจำเป็นต้องมีการปรับปรุงหลักสูตร โดยการปรับปรุงหลักสูตรในรอบนี้จำเน้น
การให้หลักสูตรเป็นปัจจุบันสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่เน้นเนื้อหาที่สามารถนำไปใช้ได้จริงและเห็นผลในระยะสั้นและกลาง
รูปแบบการเรียนการสอนเน้นผลลัพธ์และผลสำริดเป็นหลัก (สามารถประเมินความรู้ ทักษะ ทัศนคติ หรือวิธีคิดได้อย่างเป็นที่ประจักษ์)
ผลลัพธ์การเรียนรู้เน้นอิงตามมาตรฐานการปฏิบัติของสังคมตะวันออกและอ้างอิงมาตรฐานที่ยอมรับในระดับนานาชาติหรือพิสูจน์แล้วเป็นแนวทางที่ดีต้องการต่อยอดความรู้
เน้นสร้างความเชื่อมโยงกับหน่วยงานภายในและภายนอก รวมถึงสร้างประสบการณ์เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของบัณฑิต
โครงสร้างหลักสูตร (ปัจจุบัน)
ดาวน์โหลดหลักสูตรฉบับเต็มได้ ที่นี่
หมวดวิชาพื้นฐาน 3 หน่วยกิจ (ไม่นับหน่วยกิจ)
บัญชีการเงินและบัญชีบริหาร 2 หน่วยกิต
การสร้างแรงบันดาลใจในการทำธุรกิจ 1 หน่วยกิต
หมวดวิชาบังคับ 16 หน่วยกิจ
การจัดการการตลาดเชิงกลยุทธ์ 3 หน่วยกิต
การจัดการเชิงกลยุทธ์และการควบคุมธุรกิจ 3 หน่วยกิต
การเงินสำหรับการเป็นผู้ประกอบการ 3 หน่วยกิต
การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชนสำหรับผู้ประกอบการ 3 หน่วยกิต
การสื่อสารทางธุรกิจระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบการ 3 หน่วยกิต
สัมมนาสำหรับผู้ประกอบการ 1 หน่วยกิต
หมวดวิชาแกน 12 หน่วยกิจ
การจัดการเชิงพาณิชย์และกลยุทธ์นวัตกรรม 3 หน่วยกิต
การสร้างสรรค์ความคิดใหม่ และการคิดเชิงออกแบบ 3 หน่วยกิต
ผู้ประกอบการเพื่อสังคมและนวัตกรรมเพื่อความยั่งยืน 3 หน่วยกิต
แผนธุรกิจสำหรับผู้ประกอบการเชิงนวัตกรรม 3 หน่วยกิต
หมวดวิชาเลือก
แผน ข (การค้นคว้าอิสระ 3 หน่วยกิต) 9 หน่วยกิต (หรือ)
แผน ข (การค้นคว้าอิสระ 6 หน่วยกิต) 6 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาด้านการตลาด
การจัดการธุรกิจค้าปลีก 3 หน่วยกิต
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบริการใหม่ 3 หน่วยกิต
การตลาดบริการ 3 หน่วยกิต
การบริหารความสัมพันธ์ลูกค้าสำหรับผู้ประกอบการ 3 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาด้านนโยบายและการวางกลยุทธ์
การดำเนินการธุรกิจใหม่ในระดับนานาชาติ และภูมิภาคเอเชีย 3 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาด้านทฤษฎีการวิเคราะห์เชิงปริมาณ เครื่องมือ เทคนิคการจัดการและสารสนเทศการจัดการ
การเจรจาต่อรองและการแก้ปัญหาความขัดแย้ง 3 หน่วยกิต
ศาสตร์การตัดสินใจเพื่อการจัดการ 3 หน่วยกิต
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสำหรับผู้ประกอบการ 3 หน่วยกิต
เทคโนโลยีธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ 3 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาด้านความเป็นผู้ประกอบการ
ภาวะผู้นำในผู้ประกอบการและการจัดการทรัพยากรบุคคล 3 หน่วยกิต
หัวข้อพิเศษด้านการเป็นผู้ประกอบการ 3 หน่วยกิต
กลุ่มวิชาอื่นๆ
วิชาเลือกที่เปิดสอนโดยบัณฑิตวิทยาลัยฯ และได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและผู้สอน
3 หน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ (สำหรับแผน ก และการค้นคว้าอิสระ (สำหรับแผน ข)
วิทยานิพนธ์(Thesis) 12 หน่วยกิต
การวิจัยเฉพาะเรื่อง(Special Research Project) 6 หน่วยกิต
การค้นคว้าอิสระ(Independent Study)3 หน่วยกิต
โครงการแผนธุรกิจนวัตกรรม 6 หน่วยกิต
โครงการให้คำปรึกษาทางธุรกิจ 6 หน่วยกิต
โครงการพัฒนาผู้ประกอบการ 6 หน่วยกิต
หมวดวิชาภาษาอังกฤษ ไม่นับหน่วยกิต
วิชาปรับพื้นภาษาอังกฤษสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2 หน่วยกิต
วิชาภาษาอังกฤษระหว่างการเรียนในหลักสูตรสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 3 หน่วยกิต
หมายเหตุ
บัญชีการเงินและบัญชีบริหาร 2 หน่วยกิต
การสร้างแรงบันดาลใจในการทำธุรกิจ 1 หน่วยกิต
แนวทางการพัฒนาหลักสูตร
การเก็บข้อมูลเพื่อพัฒนาหลักสูตร
กลุ่มผู้ให้ข้อมูล
กลุ่มนักศึกษาปัจจุบัน (ที่เพิ่งจบการศึกษา) จำนวนไม่น้อยกว่า 5 ราย
ศิษย์เก่าที่เคยศึกษาในหลักสูตรมากกว่า 5 ปี จำนวนไม่น้อยกว่า 5 ราย
ผู้ใช้บัณฑิต เช่น หัวหน้าของผู้จบการศึกษา กลุ่มผู้ปกครองที่เป็นเจ้าของกิจการที่จะให้นักศึกษาเป็นทายาท จำนวนไม่น้อยกว่า 5 ราย
นักวิชาการ (ผู้ดูแลหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตตากมหาวิทยาลัยชั้นนำ) จำนวนไม่น้อยกว่า 5 ราย
ผู้ประกอบการ (ผู้บริหารองค์กรเอกชนที่มีรายได้มากกว่า 200 ล้านบาทต่อปี) จำนวนไม่น้อยกว่า 5 ราย
หน่วยงานภาครัฐที่เน้นสนับสนุนการนำเทคโนโลยีเข้าตลาดหรือการพัฒนานวัตรกรรม จำนวนไม่น้อยกว่า 5 ราย
หมายเหตุ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลครั้งนี้จะถูกเชิญเป็นกรรมการวิพากย์หลักสูตรเมื่อร่างหลักสูตรสำเร็จเดือนมีนาคม 2566
กรอบการเก็บข้อมูล
การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมในปัจจุบันที่กระทบต่อโอกาสทางธุรกิจ การเริ่มต้นธุรกิจ การจัดการและความยั่งยืนของธุรกิจ
พัฒนาผู้ประกอบการ (โอกาสและอุปสรรค)
การเริ่มต้นธุรกิจ
การพัฒนาธุรกิจ
การจัดการการดำเนินการของธุรกิจ
เครื่องมือที่จำเป็นต้องใข้
การเข้าถึงเงินทุน
การได้รับการสนับสนุนจากรัฐ
การพัฒนาเครือข่ายธุรกิจ
การเพิ่มมูลค่าธุรกิจ
การนำธุรกิจเข้าตลาดต่างประเทศ
การนำธุรกิจเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์
เทคโนโลยีกับการเติบโตธุรกิจ
การสร้างความยั่งยืนธุรกิจ
ข้อจำกัดของหลักสูตรเดิม
จากโครงสร้างหลักสูตร
จากผลสำริด (สิ่งที่ปรากฎจากบัณฑิต)
ข้อเสนอแนะอื่น
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักสูตร
ชื่อ
แนวคิดการพัฒนา
จำนวนหน่วยกิจ
เนื้อหาวิชา
คำอธิบายรายวิชา
ผลสำฤิทธิ์ที่สำคัญ (ไม่เกินกว่า 3 เรื่อง)
อาชีพที่สามารถทำได้หลังจากเรียน (นัก...)
เครื่อข่ายที่จำเป็น
การเชื่อมโยงกับรายวิชาก่อนและหลัง
ทักษะ ความรู้ สมรรถนะที่ต้องมีก่อนหลัง
การประเมินผลลัพธ์
ผลการเก็บข้อมูล
กลุ่มนักศึกษาปัจจุบัน (ที่เพิ่งจบการศึกษา) จำนวนไม่น้อยกว่า 5 ราย (วีดีโอ | ประเด็นสำคัญ)
การประชุม
การประชุมพัฒนาหลักสูตรอย่างเป็นทางการ (สรุปการประชุม)